วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร

วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เดิมชื่อ วัดพระบรมธาตุ ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมืองอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิด วรมหาวิหาร
พ.ศ. 854 เจ้าชายธนกุมาร และพระนางเหมชาลาและบาคู (แปลว่า นักบวช )ชาวศรีลังกา สร้างวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร (เดิมชื่อ วัดพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช) เจดีย์องค์เดิมเจดีย์แบบศรีวิชัยคล้ายเจดีย์ กิริเวเทระ ในเมืองโบโลนนารุวะ ประเทศศรีลังกา
พ.ศ. 1093 พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (หมายถึง ผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราช) (ชื่อว่าพระเจ้าจันทรภาณุ) ได้ทำการสร้างเมืองนครศรีธรรมราช ขึ้นพร้อมการก่อสร้างเจดีย์ ขึ้นใหม่เป็น เจดีย์แบบศาญจิ
พ.ศ. 1770 พระเจ้าจันทรภาณุ (หมายถึง ผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราช) ได้บูรณะพระบรมธาตุเจดีย์ เจดีย์แบบลังกา ทรงระฆังคว่ำ หรือ โอคว่ำ มีปล้องไฉน 52 ปล้อง สูงจากฐานถึงยอดปลี 37 วา 2 ศอก ((มาตราชั่ง ตวง วัด ของประเทศไทย) ยอดปลีของปล้องไฉน หุ้มทองคำเหลืองอร่าม สูง 6 วา (มาตราวัดไทย 1 วา เท่ากับ 2 เมตร) 1 ศอก (มาตราชั่ง ตวง วัด ของประเทศไทย 4 ศอก เท่ากับ 2 เมตร ดังนั้น 1 ศอก เท่ากับ 0.50 เ�! ��ตร))แผ่เป็นแผ่นหนา เท่าใบลานหุ้มไว้ น้ำหนัก 800 ชั่ง (มาตราชั่ง ตวง วัด ของประเทศไทย เท่ากับ 960 กิโลกรัม )รอบพระมหาธาตุมีเจดีย์ 158 องค์
พ.ศ. 2155 และ พ.ศ. 2159 สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถมีการซ่อมแผ่นทองที่ปลียอดพระบรมธาตุ
พ.ศ. 2190 สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ยอดพระบรมธาตุได้ชำรุดหักลง และได้มีการซ่อมสร้างขึ้นใหม่
พ.ศ. 2275 - 2301 สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการดัดแปลงทางเข้าพระสถูปพระบรมธาตุบริเวณวิหารพระทรงม้า
พ.ศ. 2312 สมัยพระเจ้าตากสินมหาราช ปฏิสังขรณ์พระอารามทั่วไปภายในวัด และโปรดให้สร้างวิหารทับเกษตรต่อออกจากฐานทักษิณรอบองค์พระธาตุ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัด) สมัยพระบาทพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ บูรณะพระวิหารหลวง วิหารทับเกษตร พระบรมธาตุที่ชำรุด ปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บูรณะกำแพงช�! ��้นนอก วิหารทับเกษตร วิหารธรรมศาลา วิหารพระทรงม้า วิหารเขียน ปิดทองพระพุทธรูป
พ.ศ. 2457 สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ติดตั้งสายล่อฟ้าองค์พระบรมธาตุเจดีย์
พ.ศ. 2515 - 2517 บูรณปฏิสังขรณ์ พระวิหารหลวงและพระอุโบสถ
พ.ศ. 2530 ซ่อมกลีบบัวทองคำที่ฉีกขาดเปราะบาง เสื่อมสภาพเป็นสนิม เสริมความมั่นคงแข็งแรงที่กลีบบัวปูนปั้น ในวันที่ 28 สิงหาคม 2530 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมารเสด็จอัญเชิญแผ่นกลีบบัวทองคำขึ้นประดิษฐบนองค์พระบรมธาตุเจดีย์
พ.ศ. 2537 - 2538 บูรณะปลียอดทองคำพระบรมธาตุเจดีย์ และเสริมความมั่นคงปูนแกนในปลียอด ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 50 ล้านบาท สิ้นทองคำ 141 บาท (มาตราชั่ง ตวง วัด ของไทย 1 บาท เท่ากับ 15.2 กรัม)
กรมศิลปากร ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นโบราณสถาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนที่ 34 วันที่ 27 กันยายน 2479



พิกัดแผนที่
มวลสารวัตถุจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุในที่นี้ รัชกาลที่ 9 ได้นำมาเป็นส่วนประกอบในการทำพระสมเด็จจิตรลดา


วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2550

อเมริกาโน

อเมริกาโน หรือ คาเฟ่ อเมริกาโน (café americano) คือเครื่องดื่มกาแฟชนิดหนึ่ง ซึ่งมีวิธีการชงโดยเติมน้ำร้อนผสมลงไปในเอสเพรสโซ. การเจือจางเอสเพรสโซซึ่งเป็นกาแฟเข้มข้นด้วยน้ำร้อน ทำให้อเมริกาโนมีความแก่พอ ๆ กับกาแฟธรรมดา แต่มีกลิ่นและรสชาติที่เข้มอันมาจากเอสเพรสโซ อเมริกาโนเหมาะสำหรับผู้ที่ชื่นชอบกาแฟดำ แต่ไม่แก่และหนักถึงขั้นเอสเพรสโซ คอกาแฟส่วนใหญ่นิ! ยมดื่มอเมริกาโนโดยไม่ปรุงด้วยนมหรือน้ำตาล เพื่อดื่มด่ำกับรสชาติกาแฟของอเมริกาโนซึ่งแตกต่างจากกาแฟธรรมดา
สำหรับที่มาของชื่ออเมริกาโนซึ่งหมายถึงสหรัฐอเมริกานั้น ว่ากันว่าเอสเพรสโซเพียว ๆ นั้น เข้มข้นเกินไปสำหรับคอกาแฟชาวอเมริกา จึงมีการเสิร์ฟกาแฟเอสเพรสโซซึ่งทำให้เจือจางด้วยน้ำร้อน. แม้ที่มาของชื่อจะหมายถึงกาแฟสไตล์อเมริกา แต่อเมริกาโนก็มิได้เป็นกาแฟที่ชาวอเมริกานิยมดื่ม จนกระทั่งยุครุ่งเรืองของร้านกาแฟแฟรนไชส์ สตาร์บัคส์ ในปี พ.ศ. 2533 แต่ถึงกร! ะนั้นอเมริกาโนก็ไม่จัดเป็นกาแฟที่ได้รับความนิยมมากนัก

วันเสาร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2550



ความหมายอื่นของ เพชรบุรี ดูได้ที่ เพชรบุรี (แก้ความกำกวม)
จังหวัดเพชรบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนล่าง (บ้างก็จัดอยู่ในภาคตะวันตกด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขา และที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร (ชื่อจังหวัดนี้ออกเสียงว่า เพ็ด-ชะ-บุ-รี หรือ เพ็ด-บุ-รี) เพ็ชรบุรี ในสมัยโบราณ เรียกกันว่า พริบพรี ก็มี บ้างก็ว่ามาจาก ศรีวัชรบุรี
จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแห่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนานนับตั้งแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่ และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเต�! �ยน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน



จังหวัดเพชรบุรี
สารบัญ
ด้านเหนือติดกับจังหวัดราชบุรี และ จังหวัดสมุทรสงคราม ด้านตะวันออกติดชายฝั่งอ่าวไทย ด้านใต้ติดจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และด้านตะวันตก ติดกับสหภาพพม่า พื้นที่ด้านตะวันตกเป็นป่าไม้และภูเขาสูง มีประชากรอาศัยหนาแน่นทางตะวันออกของพื้นที่
จังหวัดเพชรบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 ระยะทาง ประมาณ 123 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 6,225,138 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,890,711.20 ไร่ โดยมีส่วนที่กว้างที่สุดวัดได้ 103 กิโลเมตร จากทิศตะวันออก-ตะวันตก และส่วนที่ยาวที่สุดวัดได้ 80 กิโลเมตร จากทิศเหนือ-ใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ จังหวัดและประเทศใกล้เคียง
ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งเป็น 3 เขต คือ
ก. เขตภูเขาและที่ราบสูง อยู่ทางด้านตะวันตกของจังหวัดติดกับพม่าในบริเวณอำเภอแก่งกระจาน และอำเภอ หนองหญ้าปล้อง มีภูเขาสูงและเป็นบริเวณที่สูงชันของจังหวัด มีลักษณะเป็นเทือกเขาทอดยาวจากเหนือมาใต้ พื้นที่ถัดจาก บริเวณนี้จะค่อย ๆ ลาดต่ำลงมาทางด้านตะวันออก บริเวณนี้เป็นต้นกำเนิดแม่น้ำเพชรบุรี และแม่น้ำปราณบุรี
ข. เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ บริเวณตอนกลางของจังหวัดซึ่งอุดมสมบูรณ์ที่สุด มีแม่น้ำ เพชรบุรีซึ่งเป็นแม่น้ำสายสำคัญ ไหลผ่าน และมีเขื่อนแก่งกระจานและเขื่อนเพชรบุรีซึ่งเป็นแหล่งน้ำระบบชลประทาน บริเวณนี้เป็นเขตเกษตรกรรมที่สำคัญ ของจังหวัด เขตนี้คือบริเวณบางส่วนของอำเภอเมืองเพชรบุรี ท่ายาง ชะอำ บ้านลาด บ้านแหลม และเขาย้อย
ค. เขตที่ราบฝั่งทะเล อยู่ทางด้านตะวันออกของจังหวัด ติดกับชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย บริเวณนี้นับเป็นแหล่ง เศรษฐกิจที่สำคัญยิ่งของจังหวัดในด้านการประมง การท่องเที่ยว เขตนี้ได้แก่ บางส่วนของอำเภอเมืองเพชรบุรี บ้านแหลม และอำเภอชะอำ



ภูมิประเทศ
จังหวัดเพชรบุรีอยู่ติดอ่าวไทยจึงได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ในฤดูฝน ซึ่งมีผลทำให้ฝนตกชุก และ อิทธิพลจากลมมรสุมรตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงฤดูหนาว จึงทำให้มีอากาศหนาวเย็นในช่วงเวลาดังกล่าว สามารถแบ่งฤดูกาล ออกเป็น 3 ฤดู
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 32.13 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - พฤศจิกายน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปีละ 959.5 มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 24.16 องศาเซลเซียส



�
หน่วยการปกครอง
ตราประจำจังหวัดเพชรบุรี

ธงประจำจังหวัดเพชรบุรี

จังหวัดเพชรบุรีจากอวกาศ


ดอกไม้ประจำจังหวัด: ไม่มี
ต้นไม้ประจำจังหวัด: หว้า (Eugenia cumini)
คำขวัญประจำจังหวัด: เขาวังคู่บ้าน ขนมหวานเมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

การค้าขายในแม่น้ำเพชรบุรี

สะพานจอมเกล้าในอดีต


ทรัพยากรป่าไม้
ทรัพยากรป่าชายเลน
ทรัพยากรน้ำ
สัตว์ป่า
สัตว์น้ำ

ทรัพยากร

อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

สถานศึกษา
วัดโคมนาราม

วัดปากน้ำ

วัดปีป

วัดสระบัว


ศิลปวัฒนธรรมเพชรบุรี
เกจิอาจารย์สายเพชรบุรี
วัดที่สำคัญของเมืองเพชร
โบราณสถานในเมืองเพชร
วัดโคมนาราม (ที่จมทะเลไปแล้ว) - วัดโคมนาราม (วัดในบางแก้ว) ปัจจุบันได้ย้ายเข้ามาในแผ่นดินแล้ว สำหรับวัดที่อยู่ที่เดิม ได้จมลงในทะเลไปแล้ว หลังจากได้มีการกัดเซาะของกระแสน้ำในทะเล อย่างรุนแรง ที่ย่ากต่อการป้องกัน ซึ่งหลังจากได้มีการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ศึกษาและได้ทำการหาวิธีป้องกัน ลดผลกระทบ ในปัจจุบันความรุนแรงของปัณหาการกัดเ�! �าะได้ลดลงบ้าง
วัดปากน้ำ - ท่าหิน เพชรบุรี เป็นวัดร้างที่คงหลงเหลืออยู่แค่พระพุทธรูปกับซุ้มเท่านี้ อยู่ถนนโพธิ์การ้องใกล้สี่แยกท่าหิน ที่ไปบางแก้ว
วัดปีป - เป็นวัดร้างที่ตั้งอยู่ข้างรางรถไฟในเขตตำบลช่องสะแก อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี

วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550

จิวแป๊ะทง

จิวแป๊ะทง เป็นตัวละครในนิยายกำลังภายในของกิมย้ง เรื่องมังกรหยก และปรากฏตัวในมังกรหยก ภาค 2
จิวแป๊ะทงเป็นศิษย์น้องของกลางอิทธิฤทธิ์เฮ้งเตงเอี้ยง นับเป็นอาจารย์อาของเจ็ดบรรพชิตช้วนจิน นิสัยขี้เล่น เอาแต่สนุกสนานคล้ายเด็กๆ จึงมีฉายา เฒ่าทารก จิวแปะทงสำเร็จวิชาในคัมภีร์เก้าอิมจินเอ็งโดยไม่ได้ตั้งใจ จึงกลายเป็นยอดฝีมือแห่งยุค สาบานเป็นพี่น้องกับก๊วยเจ๋ง คิดค้นวิชาซ้ายขวาขัดแย้งทำให้สามารถใช้วรยุทธที่แตกต่างกันได้ในเวลาเดียว แม้ว�! ��าเฒ่าทารกจะมีวรยุทธสูงส่งแต่ก็กลัว อึ้งย้ง เป็นที่สุด จิวแป๊งทงมีลูกชายหนึ่งคนกับ เอ็งโกว

วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ไข่มุก

ไข่มุก เป็นอัญมณี มีสีขาว เงินยวง ชมพูและสีทอง โดยนำมาจากสัตว์จำพวกหอย ไข่มุกสามารถนำมาทำเป็นเครื่องประดับ หรือนำมาบดในการใช้เป็นเครื่องสำอาง
ความเชื่อของไข่มุก เป็นอัญมณีแห่งสายน้ำ เสริมสง่าราศีให้กับเพศหญิงก่อให้เกิดความนุ่มนวล อ่อนหวาน แก้ปัญหาทางด้านอารมณ์


วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2550

นกกระทุง

มาช่วยกันเพิ่มเติมและแก้ไขกันเถอะ อีกนิดหนึ่งหน้านี้ก็จะเรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ เริ่มต้นเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย หรือ ภาษาอื่นด้านซ้ายมือ ให้นำกล่องนี้ออกเมื่อมีข้อความเพิ่มเติม

Pelecanus occidentalis
Pelecanus thagus
Pelecanus erythrorhynchos
Pelecanus onocrotalus
Pelecanus crispus
Pelecanus rufescens
Pelecanus philippensis
Pelecanus conspicillatus

วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2550

พระราชวังบวรสถานมงคล

พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
พระราชวังบวรสถานมงคลเป็นพระราชวังที่ประทับของผู้ทรงดำรงพระอิสริยยศ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหน้า สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ซึ่งทรงดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดให้สร้างขึ้น โดยเริ่มสร้างพร้อม ๆ กับพระบรมมหาราชวังใน พ.ศ. 2325 การก่อสร้างพระราชวังแห่งนี้ใช้พื้นที่ตั้งแต่ทิศเหนือของวัดสล�! �ก (ปัจจุบันคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์) ขึ้นไปจดคลองคูเมือง (คือคลองหลอด) และได้ทำผาติกรรมที่ดินส่วนหนึ่งทางด้านเหนือของวัดสลักเข้ามาเป็นเขตพระราชวังบวรสถานมงคลด้วย อาณาเขตของพระราชวังบวรสถานมงคลเดิมกว้างขวางมาก แต่ปัจจุบันได้ดัดแปลงส่วนหนึ่งเป็นสนามหลวง และถนน และเป็นที่ตั้งของวิทยาลัยช่างศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป์ โรงละครแห่งชาติ พิพิธภัณ! ฑสถานแห่งชาติพระนคร และม หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พระราชวังบวรสถานมงคลเป็นศูนย์กลางทางการปกครองของผู้ดำรงพระอิสริยยศกรมพระราชวังบวรสถานมงคลและในฐานะที่เป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช จึงมีความสำคัญมาก พระราชวังแห่งนี้ใช้เวลาสร้าง 3 ปีแล้วเสร็จและมีการฉลองพระราชวังพร้อมกับการสมโภชพระนครและฉลองพระบรมมหาราชวังเมื่อ พ.ศ. 2328 พระราชวังบวรสถานมงคลมีงานสถาปัตยกรรมที่สำคัญ เช่น พระที่นั่งสุทธาสวรร�! ��์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ตั้งแต่ พ.ศ. 2330 พระที่นั่งศิวโมกข์พิมาน ซึ่งเป็นท้องพระโรง รวมทั้งพระราชมณเฑียร ซึ่งมีพระที่นั่งอยู่ในหมู่เดียวกัน 11 องค์ คือ
พระที่นั่งตรงที่เป็นท้องพระโรงหลัง
นอกจากนี้ ยังมีพระที่นั่งพิมานดุสิดา(พื้นที่บริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปัจจุบัน) ซึ่งเป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูป และได้รื้อไปในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์เสด็จไปประทับ
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาศักดิ์พลเสพ โปรดให้สร้าง พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย ขึ้นเพื่อเป็นที่เสด็จออกแขกเมืองและบำเพ็ญพระราชกุศล รวมทั้งเป็นที่ตั้งพระศพกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และเป็นที่ประกอบพระราชพิธีอุปราชาภิเษก นอกจากนี้สมเด็จพระบวราชเจ้ามหาศักดิพลเสพยังโปรดให้ซ่อมแซมพระที่นั! ่งสุทธาสวรรย์ และเปลี่ยนนามเป็น พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ และสร้างวัดขึ้นในพระราชวังด้วย คือ วัดบวรสถานสุทธาวาสซึ่งเรียกกันว่า วัดพระแก้ววังหน้า
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์เป็นพระมหาอุปราชแต่ให้มีพระเกียรติยศเสมอด้วยพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 2 ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว นามของวังหน้าหรือพระราชวังบวรสถานมงคลโปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า พระบวรราชวัง ขณะที่วังหลวงเรียกว่า พระบ�! �มมหาราชวัง ในสมัยนี้มีการปรับปรุงพระบวรราชวังครั้งใหญ่ให้สมพระเกียรติยศพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น สร้าง
ซึ่งเป็นที่ประทับ นอกจากนี้ยังมีพระที่นั่งบวรปริวัติซึ่งทรงสร้างค้างไว้ และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างต่อจนเสร็จเรียบร้อย รวมทั้งเก๋งนุกิจราชบริหารด้วย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ทรงดำรงตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นพระองค์สุดท้าย เพราะพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารขึ้นแทนใน พ.ศ. 2429 กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ทรงสร้าง พระที่นั่งสาโรชรัตนประพาส ต่อจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล! ้าเจ้าอยู่หัว หลังจากที่กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญเสด็จทิวงคตใน พ.ศ. 2428 แล้ว พระบวรราชวัง หรือ พระราชวังบวรสถานมงคลก็มิได้เป็นที่ประทับของพระมหาอุปราชอีก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ดัดแปลงสนามวังหน้าเป็นส่วนหนึ่งของสนามหลวง และรื้อป้อมปราการต่าง ๆ ลง และโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายพิพิธภัณฑสถานไปไว้ที่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พ! ระที่นั่งพุทไธสวรรย์ และ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัยใน พ.ศ. 2430 และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชมณเฑียรในพระราชวังบวรสถานมงคลจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานสำหรับพระนครใน พ.ศ. 2469 ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร วิทยาลัยช่างศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป์ โรงละครแห่งชาต�! �� และท้องสนามหลวงตอนเหนือฟากตะวันตก
พระที่นั่งวสันตพิมาน
พระที่นั่งวายุสถานอมเรศ
พระที่นั่งพรหมเมศธาดา
พระที่นั่งพิมุขมณเฑียร
พระที่นั่งปฤษฎางค์ภิมุข
พระที่นั่งพรหมพักตร์
พระที่นั่งบูรพาภิมุข
พระที่นั่งทักษิณาภิมุข
พระที่นั่งปัจฉิมาภิมุข
พระที่นั่งอุตราภิมุข
พระที่นั่งคชกรรมประเวศ
พระที่นั่งมังคลาภิเษก
พระที่นั่งเอกอลงกฎ
พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ เป็นต้น

วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550

บิณฑบาตเรือ

บิณฑบาตเรือ หรือการบิณฑบาตทางน้ำ หรืออีกชื่อหนึ่งว่า นาวาภิกขาจารณ์ เป็นขนบของคนไทยภาคกลางตอนล่างในพื้นที่ชุ่มน้ำชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานริมน้ำ โดยเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันทั้งทางกายภาพและจิตวิญญาณของผู้คนในภูมิทัศน์วัฒนธรรมไทย ที่เป็นระบบกำกับดุลยภาพของสภาวะแวดล้อมและสังคมให้ยั่งยืน สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความชื่อ"วงศาว�! ��ทยาสังเขปว่าด้วยสถาปัตยกรรมภูมินิทัศน์ถิ่น, บิณฑบาตเรือ และเรื่องที่เกี่ยวข้อง"ที่ได้เสนอในการประชุมวิชาการม.เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43และบทความเรื่อง "สถานการณ์บิณฑบาตเรือของวัดในระบบเครือข่ายคลองในนนทบุรี" เสนอในการประชุมวิชาการม.เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45 โดย ศรันย์ สมันตรัฐ

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550


สารบัญ

อัมมาร สยามวาลา
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
ผาสุก พงษ์ไพจิตร
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์
ปราณี ทินกร
วรากรณ์ สามโกเศศ
เทียนฉาย กีระนันทน์
เมธี ครองแก้ว
ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท(เสียชีวิตแล้ว)
สุวินัย ภรณวลััย

สถาบันวิชาการ

โอฬาร ไชยประวัติ
ฉลองภพ สุสังกาญจน์
ศุภชัย พานิชภักดิ์
สโมสรฟุตบอลราชวิถี
ภาครัฐ
นักเศรษฐศาสตร์


กิ่งอำเภอนาตาล

กิ่งอำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี เดิมเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของอำเภอเขมราฐ ซึ่งแยกออกมาเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยการรวมตำบลนาตาล ตำบลพังเคน ตำบนกองโพน และตำบลพะลาน มีพื้นที่ทั้งหมด 191.9 ตร.กม. และมีประชากรทั้งหมด 33,384 คน ในปี พ.ศ. 2543



การปกครอง

ตำบลนาตาล
ตำบลกองโพน
ตำบลพะลาน
ตำบลพังเคน

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2550

น่าซี

ชาวน่าซี นาสี หรือ หน่าซี (ภาษาจีน: 胖金哥 หรือ 胖金妹;พินอิน:Nàxī Zú) เป็นชนกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมืองลี่เจียง เมืองที่มีมนต์เสน่ห์แห่งหนึ่งของมณฑลยูนนาน ซึ่งได้ถูกขนานนามว่าเป็นเวนิสแห่งที่สอง



สารบัญ
ไม่มีผู้ใดรู้แน่ชัดว่าต้นตระกูลของชาวหน่าซีอยู่ที่ใด แต่เชื่อกันว่าเมื่อสหัสวรรษก่อน ชนกลุ่มนี้ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน (ในมณฑลชิงไห่ มณฑลกานซู และมณฑลเสฉวนในปัจจุบัน) ก่อนจะถูกชาวเอเชียกลางรุกรานจึงต้องถอยร่นลงมาทางใต้ในปัจจุบัน
นักชาติพันธุ์วิทยาจากทั่วโลกได้ให้ความสนใจศึกษา กรณีของชาวหน่าซีมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของภาษาที่ใช้ภาพเป็นสัญลักษณ์ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม หรือโครงสร้างทางสังคมของชนกลุ่มนี้ ชาวหน่าซีเป้นหนึ่งในชนกลุ่มน้อยในโลกที่มีโครงสร้างแบบสตรีมีบทบาทโดดเด่น ปัจจุบันโครงสร้างนี้ก็ยังคงเห็นได้ชัด ในชุมชนชาวหน่าซี สตรีเป็นผู้ประกอบกิจกรรมที่ส�! �คัญๆ และกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกายมาก และเป็นผู้ที่มีบทบาทสูงในการจัดการครอบครัวของตน


วันอังคารที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2550

เมทไดลาซีน

?
มาช่วยกันเพิ่มเติมและแก้ไขกันเถอะ อีกนิดหนึ่งหน้านี้ก็จะเรียบร้อยแล้ว
รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ เริ่มต้นเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย หรือ ภาษาอื่นด้านซ้ายมือ ให้นำกล่องนี้ออกเมื่อมีข้อความเพิ่มเติม

เมทไดลาซีน (Methdilazine)


คลีมาสทีน · คาร์บินอกซามีน · เซทิไรซีน · ไซโปรเฮปตาดีน · ด็อกซิลามีน · เดกซ์คลอเฟนิรามีน · คลอเฟนิรามีน · เดสลอราทาดีน · ไดเฟนไฮดรามีน · ไดเมนไฮดริเนท · ไตรโพรลิดีน · เทอร์เฟนาดีน · บรอมเฟนิรามีน · โปรเมทาซีน · เฟกโซเฟนาดีน · มีโคลซีน · ลอราทาดีน · อะคริวาสตีน · อะซาทาดีน · อะซีลาสตีน · แอสเทมมีโซล ·


วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ฟลูมิควิน

รายชื่อเครื่องดนตรีสากล

แซกโซโฟน
ทรัมเป็ต
ทรอมโบน
ฮอร์น
ฟลุต
คลาริเน็ต
กีตาร์
กีตาร์เบส
กลองชุด
ไวโอลิน
เปียโน
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (อังกฤษ: Dhonburi Rajabhat University )
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี



สารบัญ
ประวัติสถาบันราชภัฏธนบุรีเดิมคือโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีอาชีวศึกษา เปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยม (ป.ม.) โดยรับนักเรียนที่สำเร็จจากโรงเรียนอาชีวะศึกษาชั้นสูงเข้าศึกษาต่อในหลักสูตร 2 ปี สาขาการช่างสตรีในระยะแรกฝากเรียนที่โรงเรียนการช่างสตรีพระนครใต้



สัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฏ
สีเหลือง



สีประจำมหาวิทยาลัย
บ่มเพาะความรู้ เชิดชูคุณธรรม ชี้นำคุณภาพ



ปรัชญาของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
สิกฺขมยปญฺญา ปัญญาเกิดจากการศึกษา
ตรามหาวิทยาลัย

สีเหลือง สีประจำมหาวิทยาลัย

ดอกพิกุลจันทร์ ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย





คติพจน์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีจะเป็นมหาวิทยาลัยการสอนได้มาตรฐานสากลเชื่อมโยงการวิจัยสู่การพัฒนาท้องถิ่น



วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คณะครุศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะวิทยาการจัดการ
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์

สถาบัน/ศูนย์และหน่วยงานในมหาวิทยาลัย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

วันเสาร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วิศวกรรมเกษตร

วิศวกรรมเกษตร (อังกฤษ: agricultural engineering) เป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร อาหาร และระบบทางชีวภาพ
ในบางคณะของวิศวกรรมเกษตร มีการศึกษาร่วมกับวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อพัฒนาอาคารสำหรับการเกษตร เช่น ไซโลเก็บผลผลิต และเครื่องจักรกลเกษตร เช่น เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเพาะปลูกพืช เครื่องมือเก็บเกี่ยว รวมถึงการศึกษาผลผลิตและการวางแผนทางธุรกิจร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์เกษตร ในการวางแผนการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้สอดคล้องกับสภ! าวะตลาดในปัจจุบัน
ในประเทศไทยมีหลายมหาวิทยาลัยเปิดสอนวิศวกรรมเกษตร ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง


ลิเวอร์พูล

ลิเวอร์พูล สามารถหมายถึง
นอกจากนี้ลิเวอร์พูลยังเป็นชื่อเมือง

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล ทีมฟุตบอลประจำเมืองลิเวอร์พูล
ลิเวอร์พูล ในอังกฤษ (ประชากร 444,500 คน ข้อมูล พ.ศ. 2547)
ลิเวอร์พูล ในเขตนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (ประชากร 165,649 คน ข้อมูล พ.ศ. 2544)
ลิเวอร์พูล ในเขต โนวาสคอเทีย ประเทศแคนาดา (ประชากร 3,295 คน ข้อมูล พ.ศ. 2544)
ลิเวอร์พูล ในรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา (ประชากร 2,505 คน ข้อมูล พ.ศ. 2543)
ลิเวอร์พูล ในรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา (ประชากร 876 คน ข้อมูล พ.ศ. 2543)
ลิเวอร์พูล ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา (ประชากร 404 คน ข้อมูล พ.ศ. 2543)

วันศุกร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วันสตรีสากล

8 มีนาคม วันสตรีสากล
ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา กรรมกรสตรีในโรงงานทอผ้าได้ลุกฮือขึ้นเดินขบวนประท้วงการเอาเปรียบ กดขี่ ขูดรีด ทารุณ จากนายจ้างที่เห็นผลผลิตสำคัญกว่าชีวิตคน ความเป็นอยู่ของแรงงานสตรีในเมืองชิคาโก ว่ากันว่าไม่ต่างอะไรจากทาสนิโกรในเงื้อมมือคนผิวขาว เพราะต้องทำงานวันละ 12-15 ชั่วโมง แต่ได้รับค่าแรงานเพียงน้อยนิดส่วนสตรีตั้งครรภ์มักถูกไล่ออก ในที่สุดภ�! ��ยใต้การนำของ คลาร่า แซทคิน ผู้นำกรรมกรสตรีโรงงานทอผ้าชาวเยอรมันลุกฮือขึ้นสู้ด้วยการเดินขบวนนัดหยุดงานในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1907 โดยเรียกร้องให้นายจ้างลดเวลาการทำงานจากวันละ 12-15 ชั่วโมง ให้เหลือวันละ 8 ชัวโมงพร้อมทั้งให้ปรับปรุงสวัสดิการภายในโรงงาน และให้สตรีมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งด้วย ในการเรียกร้องครั้งนี้ แม้จะมีหลายร้อยคนถูกจับกุม แต่ก็ได้ร! ับการสนับสนุนจากสตรีทั้� ��โลก และส่งผลให้วิถีการผลิตแบบทุนนิยมเริ่มสั่นคลอน
ประวัติความเป็นมา วันสตรีสากลมีจุดกำเนิดมาจากการนัดหยุดงานและเดินขบวนของกรรมกรหญิงโรงงานทอผ้าที่เมืองชิคาโก เพื่อเรียกร้องสิทธิสตรีของผู้ใช้แรงงานหญิงฒบ นำโดย คราลา เซทคิน ผู้นำแรงงานหญิงชาวเยอรมัน ที่มีชีวิตอันแร้นแค้นไร้ความหวังจากการทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมอันเลวร้าย และมีชั่วโมงทำงานยาวนานหลังจากต่อสู้นานถึง 3 ปีเต็มในวันที่ 8 มีนาคม 1910 ! ผู้แทนหญิงจาก 18 ประเทศได้เข้าร่วมประชุมเพื่อสนับสนุนและเสนอให้มีการคุ้มครองแรงงานหญิงในระบบ สาม 8 ในการทำงาน กล่าวคือ 8 ชั่วโมงทำงาน 8 ชั่วโมงเพื่อการพักผ่อน และ 8 ชั่วโมง เพื่อการศึกษาแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตัวเอง กำหนดค่าจ้างให้เท่าเทียมกับชาย ให้การคุ้มครองผู้หญิงและเด็ก เพื่อเรียกร้องให้มีระบบ เช่น เนื่องจากคนงานหญิงในสมัยนั้นต้�! �งทำงานอยู่ในโรงงานไม่ต่ ำกว่า 16-17 ชั่วโมงโดยไม่มีวันหยุด ไม่มีการประกันการใช้แรงงานใดๆ คนงานหญิงที่เข้าไปทำงานในเวลาไม่กี่ปีก็ต้องกลายเป็นคนหลังค่อม ตามัวหรือเป็นวัณโรคและถึงแก่ชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว เพื่อเรียกร้องสิทธิของผู้ใช้แรงงานหญิงที่ถูกกดขี่เอารัดเอาเปรียบและการถูกเลือกปฏิบัติที่มีต่อชนชั้นแรงงาน จึงเป็นกำเนิดของวันสตรีสากล ดังนั้น ใน วันที่ 8 มีนาคม ของท�! ��กปี ซึ่งองค์กรที่ทำงานด้านผู้หญิงหลายประเทศทั่วโลกได้มีการจัดงานวันสตรีสากลขึ้น เพื่อรำลึกถึงการต่อสู้ของกลุ่มผู้ใช้แรงงานหญิง และเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสวันสตรีสากล รวมทั้งการจัดกิจกรรมรณรงค์เคลื่อนไหวเพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลง หรือแก้ปัญหา โดยเฉพาะปัญหาที่ผู้ใช้แรงงานได้รับผลกระทบตามสถานการณ์ของแต่ละประเทศ สังคมไทยยุคปัจจุบัน ผู้หญิงไ! ด้ก้าวเข้ามามีบทบาทสำคั� �� ๆ และได้รับการยอมรับให้ขึ้นดำรงตำแหน่งระดับสูงมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทางการเมือง หรือระบบราชการ ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบันสตรีมีศักยภาพในด้านฝีมือการทำงานที่ทุกคนได้ประจักษ์ถึงความสามารถไม่แพ้บุรุษเพศ ในอดีตที่ผ่านมา เรื่องราวของการต่อสู้เพื่อสตรีมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน โดยเฉพาะวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ.1857 ซึ่งกลุ่มผู้ใช้แรงงานสตรีในนิวยอร์คเ�! ��ินขบวนเรียกร้องสิทธิในการทำงาน การเรียกร้องสิทธิของสตรีมีต่อมาอีกหลายยุคหลายสมัยจนปี ค.ศ.1911 ได้มีการจัดฉลองวันสตรีสากลขึ้นเป็นครั้งแรกในเดือนมีนาคม อันเป็นความพยายามในการท้าทายอย่างเปิดเผยต่อขนบประเพณีดั้งเดิม และเป็นแรงผลักดันให้ทุกฝ่ายตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชนของสตรี และการต่อสู้เพื่อสิทธิที่เท่าเทียมกันระหว่างบุรุษและสตรี ทั้งกา�! ��ออกเสียงเลือกตั้ง การดำ� ��งตำแหน่งทางการเมืองและการทำงาน จากความพยายามของสตรีที่ผ่านมา ทำให้สมัชชาใหญ่ องค์การสหประชาชาติมีมติในปี ค.ศ.1957 เชิญชวนให้ทุกประเทศกำหนดให้วันใดวันหนึ่งเป็นวันฉลองแห่งชาติว่าด้วยสิทธิสตรีและสันติภาพสากล โดยให้ขึ้นกับขนบธรรมเนียมประเพณีและสภาพทางประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ ซึ่งหลายประเทศส่วนใหญ่ได้กำหนดให้วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันสตรีสากล ด! ังนั้น เมื่อถึงวันที่ 8 มีนาคมของทุกปี องค์การสหประชาชาติ ตลอดจนกลุ่มสตรีจากทุกทวีปทั่วโลก ได้ร่วมกันจัดงานเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงความเป็นมาแห่งการต่อสู้ เพื่อให้ได้มาซึ่งความเสมอภาค ความยุติธรรม สันติภาพ และการพัฒนา

แคว้นคาลินินกราด

ลักษณะภูมิประเทศและที่ตั้ง
เมือง kaliningrad นั้น ตั้งอยู่ ณ ดินแดนพ้นชายขอบของประเทศรัสเซียออกไป โดยมีที่ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโปแลนด์,ลิทัวเนียและรัฐต่างๆบริเวณทะเลบอลติก มีระยะห่างจากมอสโก 1289 กิโลเมตร มีพื้นที่ทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุดในรัสเซียคือ เป็นเขตป่าไม้แบบผสมและผลัดใบสลับกับหนองน้ำ มีลักษณะสำคัญคือ เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางเป็นของตนเองมีความแตกต่างในแบบเฉพาะตนกั! บประเทศที่รายล้อม
ข้อมูลทั่วไป
มีศูนย์กลางที่เมือง Kaliningrad พื้นที่โดยรวม 15,100 ตารางกิโลเมตร ประชากร 946,800 คน สถิติปี 2005 และ 968,200 (2004) 955,300 (2002) 948,700 (2000) ความหนาแน่นของประชากร 95คนต่อหนึ่งตารางกิโลเมตร สถิติปี 2000
ภายในเขต Kaliningrad นั้น มีเมืองที่เป็นเมืองหลัก จำนวน 5 แห่ง คือ
รอบๆเมืองนั้นยังติดกับเมืองหลวงที่สำคัญของยุโรป เช่น
เวลา
เขตเวลาเป็นเขตของยุโรปตะวันออกโดยเวลาท้องถิ่นช้ากว่าเมืองมอสโกและเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 1 ชั่วโมง

ภูมิอากาศ
Kaliningrad มีภูมิอากาศแบบภาคพื้นทวีป โดยมีอุณหภูมิประมาณ 6.2-7.6 องศา ต่างจากมอสโกประมาณ 3.5 องศาและต่างจากเซนต์ปีเตอร์สเบิกร์ประมาณ 4.1 องศา ในช่วงฤดูร้อนและใบไม้ผลิ จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 17 องศา และในช่วงเดือนมกราคมจะมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 3 องศา ส่วนในช่วงที่ไม่มีน้ำแข็งปกคลุมจะกินเวลานานประมาณ 180 วัน โดยมีลมพัดมาจากทิศตะวันตกหรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงทางภ! ูมิศาสตร์อันเนื่องมาจากลมทะเล ในช่วงฤดูหนาวและช่วงฤดูใบไม้ร่วงลมจะพัดมาจากทางมหาสมุทรแอตแลนติกใต้และตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งจะนำเอาอากาศอบอุ่นมาด้วย โดยกระแสน้ำอุ่นที่ไหลข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก จำทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นและความกดอากาศลดลงรังสี UV จะเข้มข้นมากในบริเวณ Svetlogorsk บริเวณศูนย์กลางสถานที่พักผ่อนของ Kaliningrad โดยวันที่แสงแดดแรงจะมีประมาณ 135 วัน/ปีเท! ่านั้น
ประวัติศาสตร์
เชื้อชาติและประชากร
ศิลปะและวัฒนธรรม
การเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ
Baltiysk
Gusev
Kaliningrad
Sovyetsk
Chernyakhovsk
Vilnius ประเทศลิทัวเนีย ประมาณ 350 กิโลเมตร
Riga ประเทศลัตเวีย ประมาณ 390 กิโลเมตร
Warsaw ประเทศโปร์แลนด์ ประมาณ 400 กิโลเมตร
Berlin ประเทศเยอรมนี ประมาณ 600 กิโลเมตร
Stockholm ประเทศสวีเดน ประมาณ 650 กิโลเมตร
Kopenhagen ประเทศเดนมาร์ก ประมาณ 680 กิโลเมตร